เมนู

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรม ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
2. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.

11. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ 12. อาเสวนปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

มี 2 วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี 2 วาระ

13. กัมมปัจจัย


[870] 1. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 2)

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย ด้วยอํานาจของกัมมปัจจัย.
พึงกระทํามูล (วาระที่ 3)
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
4. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

14. วิปากปัจจัย ฯลฯ 20. วิปปยุตตปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

มี 1 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี 4 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี 4 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี 4 วาระ.